วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 อ่านเพิ่มเติม


การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม


สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์" ฉะนั้น จึงเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสากล (มีผลทุกที่) และสมภาค (เท่าเทียมสำหรับทุกคน) ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลอย่างสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ สถาบันระดับโลกและภูมิภาค อ่านเพิ่มเติม


ข้อตกลงระหว่างประเทศ

การประชุมจัดขึ้นท่ามกลางบรรยากาศเเห่งมิตรภาพเเละัความร่วมมือซึ่งสะท้อนให้เห็น
ถึงความสัมพันธ์อันเเน่นเเฟ้นเเละอบอุ่นระหว่างสองประเทศ ในระหว่างการประชุมได้มี
การเเจ้งให้ทราบถึงข้อมูลปัจจุบันใีนระดับทวิภาคี ภูมิภาค เเละพหุภาคี รวมทั้งการส่ง-
เสริมความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศในเรื่องต่าง ๆ เช่น เเรงงาน การค้า การเกษตร
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเเละการปฏิบัติการ การเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เเละความสัม-
พันธ์ของประชาชนของทั้่งสองประเทศ อ่านเพิ่มเติม


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว

1.   ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย
2.   กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
3.   กำหมายแพ่งที่เกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
4.   กฎหมายอาญา
5.   โมฆกรรมและโมฆียกรรม
6.   กฎหมายอื่นที่สำคัญ
7.   ข้อตกลงระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม

สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย

ประเทศไทยนั้นมีปัญหาทางการเมืองมาอย่างยาวนาน เรียกได้ว่าเป็นปัญหาที่ฝังรากลึกลงในสังคมไทยอย่างยากที่จะแก้ไข นับวันปัญหาจะยิ่งซับซ้อนและลุกลามไปเป็นปัญหาอื่นๆอีกมากมาย อ่านเพิ่มเติม


รัฐ

รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้รับการรับรองเหล่านี้ มักจะพบว่าตนประสบอุปสรรคในการเจรจาสนธิสัญญากับต่างประเทศและดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่น องค์ประกอบสำคัญของรัฐ มี 4 ประการ คือ อ่านเพิ่มเติม


คุณลักษณะของพลเมืองดี

คุณลักษณะพลเมืองที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก
1. เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ  ข้อบังคับของสังคม
เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน  ปราบปรามและจับกุมผู้ที่กระทำความผิดมาลงโทษ  
นอกจากนี้ยังทำให้สังคมมีความเป็นระเบียบสงบสุขทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ไม่หวาดระแวงคิดร้ายต่อกัน อ่านเพิ่มเติม


พลเมืองดี

 การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย หมายถึง การปฎิบัติตนเป็นคนดีโดยยึดหลักประชาธิปไตยในการดำเนินชีวิต เช่น การร่วมกันทำประโยชน์เพื่อความผาสุกแก่ส่วนรวม เคารพซึ่งกันและกัน ช่วยกันทำงานและช่วยกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม


การเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

 วัฒนธรรม   หมายถึง   สิ่งที่คนไทยกำหนดสร้างขึ้น มีการเรียนรู้สืบต่อกันมามีลักษณะที่แสดงออกถึงความงอกงาม  ความเป็นระเบียบร้อย  ความกลมเกลียว  ตลอดจนการมีศีลธรรมอันดีของสมาชิกไทย  เช่น  การใช้ภาษาไทย  การรู้จักเคารพผู้อาวุโส การไหว้ ศิลปกรรม  แบบไทย  อาหารไทย รวมทั้งการแต่งกายที่สุภาพเรียบร้อย ถูกต้องตามกาลเทศะเหมาะสมตาฐานะและวัย อ่านเพิ่มเติม



วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรม หมายถึง วีถีการดำรงชีวิตที่ดีงาม ได้รับการสืบทอดจากอดีตสู่ปัจจุบันเป็นผลผลิตของมนุษย์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ทั้งด้านวัตถุ แนวคิดจิตใจ วัฒนธรรมในท้องถิ่นจะเป็นเอกลักษณ์ของสังคมท้องถิ่นนั้นๆ วัฒนธรรมคงอยู่ได้เพราะการเรียนรู้ของมนุษย์ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน และสร้างสรรค์พัฒนาขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่อง อ่านเพิ่มเติม



ปัญหาสังคม

ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม



ปัญหาทางสังคม

   ปี พ.ศ. 2544  คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ  ซึ่งในขณะนั้นสังกัดกรมประชาสงเคราะห์   ทำการสำรวจปัญหาสังคมไทย  พ.ศ.2544  เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ  ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2545-2549)  รายงานผลไว้ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม





วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

การเปลี่ยนแปลง

ราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 337) อธิบายว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ได้เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะเป็นไปในทางก้าวหน้าหรือถดถอย เป็นไปได้อย่างถาวรหรือชั่วคราว โดยวางแผนให้เป็นไปหรือเป็นไปเอง และที่เป็นประโยชน์หรือให้โทษก็ได้ทั้งสิ้น อ่านเพิ่มเติม


การจัดระเบียบสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติ


โครงสร้างทางสังคม

โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โครงสร้าง ของสังคม เปรียบได้กับบ้านเรือนที่เราอาศัยอยู่อย่าง สมบูรณ์ ประกอบด้วย โครงสร้างที่สำคัญหลายอย่าง เช่น คาน หลังคา พื้น ฝา ประตู หน้าต่าง เป็นต้น โครงสร้างของสังคมก็เช่นเดียวกัน ย่อมประกอบด้วยกลุ่มคน สถาบันทางสังคม และสถานภาพ บทบาทของคนในสังคม อ่านเพิ่มเติม